นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนริทร์คำโคลง เป็นนิราศที่มีชื่อเสียงเรื่องหนึ่งในสมัยรัตนโกสินทร์ มีเนื้อหาสำคัญอยู่ที่การกล่าวคร่ำครวญถึงนางอันเป็นที่รัก ด้วยสำนวนโวหารอันไพเราะและมีคุณค่าในด้านวรรณศิลป์ นิราศนริทร์จึงได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของนิราศคำโคลง อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2558
นิทานเวตาล
นิทานเวตาล เรื่องที่ ๑o
ความเป็นมา
นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย โดยมีชื่อเดิมว่า “เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณ
ต่อมาได้มีผู้นำนิทานเวตาลทั้งฉบับภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดีมาแปลเป็นภาษาอังกฤษ โดยร้อยเอก เซอร์ ริชาร์ด เอฟ. เบอร์ตัน ก็ได้นำมาแปลและเรียบเรียงแต่งแปลงเป็นสำนวนภาษาของตนเองให้คนอังกฤษอ่าน แต่ไม่ครบทั้ง 25 เรื่อง กรมหมื่นพิทยาลงกรณ ได้ทรงแปลนิทานเวตาลจากฉบับของเบอร์ตัน จำนวน 9 เรื่อง อ่านเพิ่มเติม
อิเหนา
อิเหนา ตอน ศึกกระหมังกุหนิง
อิเหนา เป็นบทละครพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นบทละครที่วรรณคดีสโมสรยกย่องให้เป็นยอดของบทละครรำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีพร้อมทั้งเนื้อหา ทั้งความไพเราะ ทั้งกระบวนที่จะเล่นละครประกอบกัน และยังเป็นหนังสือดีในทางที่จะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระราชนิพนธ์ตรงตามตำราทุกอย่าง แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าเรื่องมาจากนิทานพื้นเมืองชวา แต่ทรงดัดแปลงแก้ไขให้เข้ากับธรรมเนียมของบ้านเมือง อัธยาศัยและรสนิยมของคนไทย อ่านเพิ่มเติม
อิเหนา เป็นบทละครพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นบทละครที่วรรณคดีสโมสรยกย่องให้เป็นยอดของบทละครรำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีพร้อมทั้งเนื้อหา ทั้งความไพเราะ ทั้งกระบวนที่จะเล่นละครประกอบกัน และยังเป็นหนังสือดีในทางที่จะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระราชนิพนธ์ตรงตามตำราทุกอย่าง แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าเรื่องมาจากนิทานพื้นเมืองชวา แต่ทรงดัดแปลงแก้ไขให้เข้ากับธรรมเนียมของบ้านเมือง อัธยาศัยและรสนิยมของคนไทย อ่านเพิ่มเติม
คำนมัสการคุณานุคุณ
คำนมัสการคุณานุคุณ
คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ยึดมั่นในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม อ่านเพิ่มเติม
คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ยึดมั่นในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม อ่านเพิ่มเติม
การวิจักษ์วรรณคดี
การวิจักษ์วรรณคดี
๑. อ่านอย่างพินิจพิจารณา คือ การอ่านโดยใช้การวิเคราะห์ อ่านตั้งแต่ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง คำนำ คำนิยม สารบัญ ไปจนถึงเนื้อหาและบรรณานุกรม รวมถึงประวัติของผู้เขียนซึ่งจะทำให้เข้าใจเนื้อหา มูลเหตุของการแต่ง แรงบันดาลในฝนการแต่งและสิ่งที่แฝงเน้นภายในหนังสือ
๑. อ่านอย่างพินิจพิจารณา คือ การอ่านโดยใช้การวิเคราะห์ อ่านตั้งแต่ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง คำนำ คำนิยม สารบัญ ไปจนถึงเนื้อหาและบรรณานุกรม รวมถึงประวัติของผู้เขียนซึ่งจะทำให้เข้าใจเนื้อหา มูลเหตุของการแต่ง แรงบันดาลในฝนการแต่งและสิ่งที่แฝงเน้นภายในหนังสือ
๒. ค้นหาความหมายพื้นฐาน ความหมายพื้นฐานคือความหมายตามตัวอักษร ผู้อ่านสามารถค้นหาได้จากข้อความที่ผู้แต่งได้แฝงเร้นเอาไว้โดยแลกเปลี่ยนกับผู้รู้หรือผู้ที่อ่านวรรณคดีเรื่องเดียวกันแล้วจัดลำดับใจความสำคัญของเรื่องว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน ผลเป็นอย่างไร อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)